วิชาก้าวทันโลกศึกษา 2 หน่วยที่ 2


สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณิชย
หลักทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและการใชสิทธิ  
 1.ในการใชสิทธิแหงตนก็ดีในการชําระหนี้ก็ดีบุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต (มาตรา 5)
 2. ถามิไดกําหนดดอกเบี้ยไวใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป(มาตรา 7)
 3.  ลายพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดีทําลงในเอกสาร ถาไมไดทําตอหนาพนักงาน
เจาหนาที่  หากมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คนแลว เสมอกับลงลายมือชื่อ (มาตรา 9)
 4.  การลงจํานวนเงินในเอกสารดวยตัวอักษรและตัวเลข ถาไมตรงกันและมิอาจทราบเจตนาที่แทจริงได ใหใช
จํานวนเงินที่เขียนเปนตัวอักษรเปนประมาณ ถาไมตรงกันหลายแหง ใหเอาจํานวนเงินหรือปริมาณนอยที่สุดเปน
ประมาณ (มาตรา 12 , 13 ) 
 5.  ถาเอกสารทําไวสองภาษา เปนภาษาไทยภาษาหนึ่งดวย หากมีความแตกตางกันและไมอาจทราบเจตนาของ
คูกรณีไดวาจะใหใชภาษาใดบังคับ ใหใชภาษาไทยบังคับ (มาตรา 14)
บุคคล
☺ บุคคลธรรมดา
สภาพบุคคล ยอมเริ่มแตเมื่อคลอด    การคลอดนั้นหมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัวแลว
แมจะยังไมตัดสายสะดือ และตองรอดอยูดวย แมเพียงชั่วระยะเวลานิดเดียวก็มีสิทธิตางๆ    ในทรัพยสินยอนไปตั้งแตวัน
แรกที่ปฏิสนธิในครรภมารดก เชน อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตายกอนเด็กคลอดไดเปนตน (มาตรา 15) 
ภูมิลําเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี้
 1. ภูมิลําเนาของบุคคลธรรมดา ไดแกถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยูเปนหลักแหลงสําคัญ (ม.37) 
 2.  ถาบุคคลมีถิ่นที่อยูหลายแหงสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหลงที่ทํามาหากินเปนปกติหลายแหง ก็ใหถือเอาแหงใด
แหงหนึ่งเปนภูมิลําเนาของบุคคลนั้น (ม. 38) 
 3. ถาภูมิลําเนาไมปรากฏ ใหถือวาถิ่นที่อยูเปนภูมิลําเนา (ม.39)
 4.  ถาไมมีถิ่นที่อยูเปนปกติ หรือไมมีที่ทําการงานเปนหลักแหลง ถาพบตัวในถิ่นไหนก็ใหถือวาถิ่นนั้นเปน
ภูมิลําเนา (ม. 40) 
 5.  บุคคลอาจแสดงเจตนากําหนดภูมิลําเนา ณ ถิ่นใดเพื่อกระทําการใด ก็ถือวาถิ่นนั้นเปนภูมิลําเนาเฉพาะการ
นั้น (ม. 42) 
 6.  ภูมิลําเนาของบุคคลบางประเภท เชน ผูเยาวหรือผูไรความสามารถ กฎหมายใหใชภูมิลําเนาของผูแทนโดย
ชอบธรรมหรือของผูอนุบาล (ม.44,45) 
 7.  ขาราชการ ภูมิลําเนาไดแกถิ่นที่ทํางานตามตําแหนงหนาที่อยูประจํา ถาเปนเพียงแตไดรับคําสั่งใหไปชวย
ราชการชั่วคราวไมถือวาที่นั้นเปนภูมิลําเนา (ม. 46) 
 8.  ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดหรือตามคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมาย ภูมิลําเนาไดแก เรือนจําหรือทัณฑ
สถานที่ถูกจําคุกอยู จนกวาจะไดรับการปลอยตัว (ม. 47)  
         *** การเปลี่ยนภูมิลําเนากระทําไดโดยการแสดงเจตนาวาจงใจจะเปลี่ยนภูมิลําเนาและยายถิ่นที่อยู(ม. 41)
ความสามารถของบุคคล
    www.SITTIGORN.net
To the INTELLIGENT LAWYER2
 1. ผูเยาว                บรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ  (ม. 19)
                           ทําการสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (ม.20)                       สมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17ปบริบูรณ  
หรือ เมื่อศาลอนุญาตใหทําการสมรส (ม. 1448)  จําไววา   “บรรลุแลวบรรลุเลย”
ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของ “ผูแทนโดยชอบธรรม” กอน มิฉะนั้นนิติกรรมนั้นๆ เปน
โมฆียะ คืออาจถูกบอกลางไดในภายหลัง  (ม.21)
ผูเยาวอาจทํานิติกรรมที่สมบูรณไดเอง โดยไมตองขอความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม คือ
    1. ทําพินัยกรรมไดเมื่อมีอายุ 15 ปบริบูรณ(ม.25)
    2. นิติกรรมที่เปนประโยชนแกผูเยาวฝายเดียว (ม. 22) เชน รับการใหโดยไมมีขอผูกพัน  
    3. นิติกรรมที่ตองทําเองเฉพาะตัว (ม. 23)  เชน  การรับรองบุตร กรณีตาม มาตรา 1548  
    4. นิติกรรมที่สมควรแกฐานานุรูป และเปนการจําเปนในการดํารงชีพตามควร (ม.24)
    5. เมื่อผูเยาวไดรับอนุญาตจากผูแทนโดยชอบธรรมใหประกอบการคา (ม.27)
2. คนไรความสามารถ   คือ คนวิกลจริตที่คูสมรส บุพการีผูสืบสันดาน ของผูนั้น หรือพนักงานอัยการไดรอง
ขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนไรความสามารถ (ม. 28) และจัดใหอยูในความอนุบาล     นิติกรรมที่คนไรความสาม
รถกระทําลงยอมตกเปนโมฆียะทั้งสิ้น แมจะไดรับความยินยอมจาก “ผูอนุบาล” ก็ไมได  
(ม. 29) 
    สวนคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ หากไปทํานิติกรรม ยอมตองถือวามีผลสมบูรณ       
เวนแตวา ไดกระทําในขณะจริตวิกล + คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูอยูแลว นิติกรรมนั้นจึงตกเปนโมฆียะ   (ม.30)
3.  คนเสมือนไรความสามารถ คือบุคคลที่ปรากฏวา ไมสามารถจัดทําการงานของตนเองไดเพราะมีกายพิการ
จิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ แตไมถึงขนาดวิกลจริต ประพฤติสุรุยสุราย เสเพลเปนอาจิณ ติดสุรายาเมา      เมื่อคูสมรส
บุพการีผูสืบสันดาน หรือพนักงานอัยการรองขอตอศาล ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนเสมือนไรความสามารถ โดยให
อยูใน “ความพิทักษ” ก็ได(ม. 32)
   
การสิ้นสภาพบุคคล
 1. ตาย (ม.15)
 2. สาบสูญ (โดยผลของกฎหมาย) ไดแก
  2.1  บุคคลไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู โดยไมมีใครทราบวาเปนตายรายดีอยางไรตลอดระยะเวลา 5 
ป(ม.61 วรรคแรก)
  2.2  บุคคลไปทําการรบหรือสงคราม หรือตกไปอยูในเรือเมื่ออับปราง หรือตกไปในฐานะที่จะเปน
ภยันตรายแกชีวิตประการอื่นใด หากนับแตเมื่อภยันตรายประการอื่นๆ ไดผานพนไปแลวนับไดเวลาถึง 2 ป   ยังไมมีใคร
ทราบวาบุคคลนั้นเปนตายรายดีอยางไร (ม.61 วรรคสอง)
☺ นิติบุคคล เกิดขึ้นตามกฎหมาย เชน
 1.  ทบวงการเมือง ไดแก กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล เทศบาลและสุขาภิบาลทั้งหลาย กรมตํารวจ
กองทัพบก/เรือ/อากาศ   แตกรมในกองทัพนั้นไมเปนนิติบุคคล  
 2. วัดวาอาราม เฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา ที่เรียกกันวาเปนวัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา
สวนถาเปนมัสยิดหรือวัดของศาสนาคริสตตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจึงจะเปนเจาของที่ดินได
    www.SITTIGORN.net
To the INTELLIGENT LAWYER3
 3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว / บริษัทจํากัด / สมาคม และมูลนิธิ  สวนสาขาของนิติบุคคลตางประเทศที่เขา
มาประกอบการในประเทศไทยก็เปนนิติบุคคลเชนเดียวกับนิติบุคคลในประเทศนั้น แมนิติบุคคลในตางประเทศนั้นจะมิ
ไดมาจดทะเบียนในประเทศไทยก็ตาม เมื่อนิติบุคคลดังกลาวไดเปนนิติบุคคลโดยชอบดวยกฎหมายของประเทศนั้นๆ
แลว